การวิเคราะห์ระบบการวัด MSA 4th

 

วัตถุประสงค์

ทำไมถึงควรเข้าร่วมการสัมมนา ท่านจะได้:

• เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจหลักการของการวิเคราะห์ระบบการวัด

ตามคำแนะนำของระบบมาตรฐานISO/TS 16949:2009
• เพื่อใช้เป็นแนวทางในการประเมินผลความสามรถของการวัดในองค์กรทั้งในด้านของเครื่องมือวัด,

อุปกรณ์ตลอดจนตัวของพนักงานที่ทำการเก็บค่าข้อมูลได้อย่างถูกต้อง
• เพื่อให้มีความเข้าใจในแนวคิดและความสำคัญของการวิเคราะห์ค่าคุณสมบัติด้านต่างๆ

ในระบบการวัดที่ถูกต้องและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปปรับปรุงและยกระดับขีดความสามารถ

ของการวัดภายในองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
• เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้ทราบถึงแนวทางที่เปลี่ยนแปลง

ไปในส่วนของการประยุกต์ใช้คู่มือ MSA จาก 3rd Edition มาเป็น 4th Edition
• ทราบปัญหา ข้อควรระวัง และ อุปสรรคในการจัดวางระบบ
• ทราบมุมมองการตรวจประเมินเพื่อการรับรอง
• สามารถซักถาม ข้อสงสัย กับทางผู้สอนที่ซึ่งเป็นผู้ตรวจประเมินระบบโดยตรง

เนื้อหาหลักสูตร

วันแรก
• เนื้อหาการเปลี่ยนแปลงใน MSA ฉบับใหม่ (4th Edition)
• แนวคิดและความสำคัญด้านการวัด
• ทบทวนความรู้พื้นฐานทางด้านสถิติเบื้องต้นที่นำมาใช้กับการคำนวนใน MSA
• ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการด้าน Calibration และ MSA

ในมุมมองของข้อกำหนดในระบบ ISO/TS16949:2009
• วัตถุประสงค์และขอบเขตของ MSA
• ความสัมพันธ์ระหว่าง SPC และ MSA
• หลักการของ MSA
• คุณสมบัติด้านการแยกแยะของระบบการวัด (Measurement System Discrimination)
• ขั้นตอนในการคำนวนและการวิเคราะห์ระบบการวัด
• เทคนิคการวิเคราะห์สำหรับเครื่องมือวัดที่สามารถอ่านค่าออกมาในเชิงของตัวเลขได้

(Variable Measurement System)
- Bias
- Stability

วันที่สอง
- Linearity
- Gauge Repeatability & Reproducibility (GR&R)
- เทคนิคการวิเคราะห์สำหรับเครื่องมือวัดที่ไม่สามารถอ่านค่าออกมาในเชิงของตัวเลขได้

(Attribute Measurement System)
- Hypothesis Test Analysis (Cross Tab Method)
• กรณีศึกษากิจกรรมการวิเคราะห์ระบบการวัด
• เทคนิคการตีความและการวิเคราะห์ค่าระบบการวัด
• การนำความรู้ด้านการวิเคราะห์ระบบการวัดที่ได้ไปปรับปรุงและพัฒนา
• MSA ในเชิงสำหรับค่าการวิเคราะห์แบบทำลาย (Destructive and Non-

Replicable Measurement System)
• ประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับ MSA ซึ่งพบบ่อยในการตรวจประเมิน
• การอภิปราย สรุปเนื้อหา ตอบข้อซักถาม

ผู้ควรเข้ารับการอบรม

องค์กรที่ได้รับการกดดันจากลูกค้าหรือภาวะการแข่งขันทางการตลาดให้ต้องทำการ

ประยุกต์ใช้ระบบ ISO/TS 16949:2009 พร้อมทั้งองค์กรที่ได้รับการรับรองระบบแล้ว

หรือระหว่างการจัดทำระบบ ISO/TS 16949:2009

ผู้ที่ควรได้เข้ารับการสัมมนา

• ผู้ตรวจติดตามภายในระบบ ISO/TS 16949 และผู้ตรวจประเมินซัพพลายเออร์ (supplier 2nd party auditor)
• บุคคลกรที่เกี่ยวข้องในการปรับปรุงองค์กร ป้องกันปัญหาให้กับองค์กรรวมทั้ง วิศวกร หัวหน้างานในหน่วยงานผลิต หน่วยงานออกแบบ หน่วยงานคุณภาพ หน่วยงานการตลาด ทีมงาน New Model ของแต่ละบริษัท
• ผู้ที่เกี่ยวข้องในการนำระบบ ISO/TS 16949 ไปปฎิบัติใช้ ซึ่งรวมทั้ง:
ประธานบริษัท • กรรมการผู้จัดการ • เจ้าของกิจการ • นักอุตสาหกรรม • ผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ • ผู้จัดการโรงงาน • ผู้จัดการฝ่ายการผลิต • ผู้จัดการฝ่ายซ่อมบำรุง • ผู้จัดการฝ่ายควบคุมคุณภาพ • ผู้จัดการฝ่ายวิจัยและพัฒนา • ผู้จัดการฝ่ายบุคคล และฝึกอบรมหัวหน้าวิศวกร • ผู้จัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ • วิศวกรระบบ • โปรแกรมเมอร์ • วิศวกรโรงงาน • วิศวกรออกแบบ • วิศวกรฝ่ายผลิต • วิศวกรคุณภาพ • วิศวกรฝ่ายทดสอบ • หัวหน้าแผนก • ฝ่ายควบคุมคุณภาพ • ผู้แทนจำหน่าย/ผู้จัดจำหน่าย • และผู้สนใจในอุตสาหกรรมการผลิตทุกท่าน

ระยะเวลาในการอบรม

2  วัน   ลงทะเบียนเวลา 8.30 น.

 

-    ราคานี้รวมค่าเอกสารประกอบการสัมมนา

-    ราคานี้รวมค่าอาหารกลางวัน และคอฟฟี่เบรค จำนวน 2 เบรคแล้ว

-    ราคานี้รวม ราคายังไม่รวม Vat 7%  สามารถหัก ณ ที่จ่ายได้

 จองสำรองที่นั่ง

Login